<?php
$score=80;
if($score<50){
echo 'grade 0';
}else if($score<56){
echo 'grade 1';
}else if($score<60){
echo 'grade 1.5';
}else if($score<66){
echo 'grade 2';
}else if($score<70){
echo 'grade 2.5';
}else if($score<75){
echo 'grade 3';
}else if($score<80){
echo 'grade 3.5';
}else{
echo 'grade 4';
}
?>
วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556
Drawing
Drawing
วาดเส้น (Drawing) เป็นวิธีการสร้างภาพโดยวิธีที่ง่ายและรวดเร็ว เพื่อสื่อความหมายทางการเห็นขั้นเริ่มแรกของมนุษย์ด้วยปัจจัยขั้นพื้นฐาน คือ ร่องรอยต่าง ๆ และเครื่องมือง่าย ๆ ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น ถ่าน เศษไม้ หรือแม้แต่นิ้วมือของตนเอง ซึ่งมนุษย์ต้องการแสดงออกในบางอย่างที่เป็นส่วนตนออกมาให้ปรากฏ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความเชื่อ ความนึกคิด อารมณ์ความรู้สึก หรือแม้แต่ร่องรอยง่าย ๆ ที่ทำขึ้นมาเอง
วาดเส้นเป็นพื้นฐานของงานทัศนศิลป์และออกแบบ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สถาปัตยกรรม ออกแบบตกแต่ง ศิลปะไทย ลายรดน้ำ เป็นต้น ก่อนที่เราจะสร้างสรรค์งานศิลปะแขนงต่าง ๆ ดังที่ยกตัวอย่างมาข้างต้น จำเป็นจะต้องมีความชำนาญทางการวาดเส้นให้แม่นยำเสียก่อน เมื่อมีความชำนาญทางการวาดเส้นแล้วก็จะทำให้การทำงานศิลปะต่าง ๆ ง่ายขึ้น
* ขออุณญาติเจ้าของผลงานค่ะ *
Composition art
องค์ประกอบทางศิลปะ (Art of Composition) คำว่า Composition นั้นมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินจากคำว่า Compositio ซึ่งโดยความหมายก็คือการจัดเข้าด้วยกัน
องค์ประกอบทางด้านศิลปะนั้นเราสามารถพบเห็นได้โดยทั่วไป ทั้งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้นมา สำหรับนักถ่ายภาพนั้น จะต้องถ่ายทอดความรู้ศึก และอารมณ์เหล่านั้นผ่านองค์ประกอบต่างๆ เหล่านั้น โดยอาจจะใช้องค์ประกอบที่หลากหลายเพื่อประกอบเป็นความกลมกลืนทางศิลปะ ไม่ว่าจะเป็นจุด หรือเส้นที่ทำให้เกิดรูปร่าง แสงที่ทำให้เกิดเงาตกกระทบเป็นรูปทรงต่างๆ การทำซ้ำจนเกิดเป็นลวดลาย ส่วนสัด รามทั้งที่ว่าง ก็ก่อให้เกิดวามสมุดลของศิลปะได้
แต่เหนือสิ่งอื่นใดแล้วเราจะต้องรู้จักองค์ประกอบพื้นฐานทางศิลปะเหล่านี้ักันก่อน เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับการนำไปต่อยอด เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่ดีต่อไป
ซึ่งองค์ประกอบทางศิลปะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนดังนี้
- องค์ประกอบพื้นฐานทางศิลปะ (Elements of Art)
ซึ่งจะเรียกได้อีกอย่างนึงว่า ทัศนธาตุ ซึ่งทัศนธาตุในที่นี้ก็คือศิลปะที่สัมผัสได้ด้วยการมองเห็น ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานทางศิลปะในการมองเห็นในทางทัศนศิลป์นั้นได้แก่ - จุด (Point)
- เส้น (Line)
- รูปร่าง และรูปทรง (Shape and Form)
- ลักษณะผิว (Texture)
- ส่วนสัด (Proportion)
- สี (Color)
- น้ำหนักหรือค่าความอ่อนแก่ (Tone)]
- แสง และเงา (Light and Shade)
- ที่ว่าง (Space)
- องค์ประกอบหลัก หรือหลักการทางศิลปะ (Principles of
Art)
การนำองค์ประกอบพื็นฐานทางศิลปะ หรือ ทัศนธาตุ มาประกอบเป็นงานทางศิลปะที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น - การทำซ้ำ (Repetition)
- จังหวะ (Rhythm)
- ลวยลาย (Pattern)
- การลดหลั่น หรือการแปลเปลี่ยน (Gradation)
- ทิศทาง และการเคลื่อนไหว (Direction and Movement)
- ความกลมลืน (Harmony)
- การตัดกัน (Contrast)
- ดุลยภาพ (Balance)
- เอกภาพ (Unity)
วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556
ความสำคัญ
ความสำคัญของเส้น
1. ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็นส่วน ๆ
2. กำหนดขอบเขตของที่ว่าง หมายถึง ทำให้เกิดเป็นรูปร่าง (Shape) ขึ้นมา
3. กำหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทำให้มองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น
4. ทำหน้าที่เป็นน้ำหนักอ่อนแก่ ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาด้วยเส้น
5. ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูป และโครงสร้างของภาพ
เส้นโค้งก้นหอย
6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย
หรือเติบโตในทิศทางที่หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด
เส้นหยัก
4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ
มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง
เส้นตั้ง
1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง
ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง
แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง
สีและเส้น
เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้าเรานำจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไป
ก็จะเกิดเป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทำหน้าที่เป็นขอบเขต
ของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแกนหรือ
โครงสร้างของรูปร่างรูปทรง เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย
แสดงความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง
(Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้
เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึกที่แตกต่างกันอีกด้วย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)